Public Training

9’s Subtypes & Levels of Development Workshop by Zoom

9 กลัวอยู่โดดเดี่ยว เขามองตัวเองว่า เป็นคนเรียบง่าย ไม่เรื่องมาก แต่คนอื่นอาจรู้สึกว่าเขาไม่ค่อยอนาทรร้อนใจหรือไม่ค่อยสนใจอะไร เขาเชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างควรอยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืนและสงบสุข  แต่ปัญหาจะเริ่มเกิดขึ้นเพราะเขาไม่ยอมมองมุมอื่นที่ขัดกับอุดมคติหรือความเชื่อนี้ แล้วก็หวังว่าปัญหาความยุ่งยากนั้นจะคลี่คลายไปเอง

(more…)
Continue Reading

ชี้นำการเปลี่ยนแปลงด้วยเอ็นเนียแกรม

เป็นที่ปรากฎชัดเจนแล้วว่า ไม่ว่าเราในฐานะปัจเจกหรือองค์กรจะอยู่รอดได้ก็ต้องปรับตัวต่อของการเปลี่ยนแปลง กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยี วัฒนธรรม ไลฟ์สไตล์ การแข่งขันจากต่างประเทศ ฯลฯ มีความรุนแรง เขี่ยวกราก และรวดเร็ว จนถ้าเราจะรอให้เกิดขึ้นก่อน แล้วค่อยมาบริหาร (Change Management) ก็จะไม่น่าจะอยู่รอดได้ เหมือนองค์กรที่เคยมีชื่อเสียงเมื่อ 10 กว่าปีก่อนกลับเสียสถานะนั้นอย่างน่าตกใจ

(more…)
Continue Reading

High Self-Esteem : Practicing the 6 Pillars of Self-Esteem with the Enneagram & Cognitive Functions

"ปัญหาทางจิตใจแทบทั้งหมดเชื่อมโยงกับ Self-Esteem ต่ำ เช่น วิตกกังวล ซึมเศร้า ผลการเรียนตกต่ำ ผลงานตกต่ำ หวาดกลัวความใกล้ชิด กลัวที่จะมีความสุขหรือประสบความสำเร็จ ติดเหล้าหรือยาเสพติด ทะเลาะเบาะแว้งกับคนรัก ลวนลามเด็ก เฉื่อยชา ชีวิตไร้จุดหมาย suicide หรือการก่ออาชญากรรม"

: The Six Pillars of Self-Esteem โดย นาธาเนียล เบรนดัล

(more…)
Continue Reading

6’s Subtype & Levels of Development Workshop, 26 Mar 23

เมื่อเทียบกับคนส่วนมากแล้ว หากคุณมีลักษณะนิสัยเช่น ขี้สงสัย ชอบตั้งคำถาม คิดเยอะ คิดมาก คิดในแง่มุมที่คนอื่นไม่คิด ไม่ค่อยเชื่อใจใคร หรืออะไร  คิดว่าจะมีปัญหาอะไรเกิดขึ้นบ้าง  ย้ำคิดย้ำทำ ขี้บ่น ฯลฯ คุณอาจไม่รู้ตัวว่า นี่คือจุดเด่นของ คนเบอร์หก นักปุจฉา (more…)
Continue Reading

Enneagram 1’s Subtypes & Levels of Development Workshop by Zoom

คนเบอร์ 1 หรือผู้นิยมความสมบูรณ์ ยังมีบุคลิกที่แตกต่างกัน 3 แบบเรียกว่า Subtypes ดังนี้

(more…)
Continue Reading

Get Out of Drama Triagle with the Enneagram, Onsite Workshop

เราทุกคนมีความต้องการทั้งที่เหมือนกัน และที่แตกต่างกันหลายอย่าง
ตั้งแต่เด็ก เราไม่ได้รับการส่งเสริมให้ บอกความต้องการเหล่านั้นออกมาตรงๆ
ผลก็คือ ทุกคนต้องเล่นบทบาทต่างๆ ใน Drama Triangle โดยหวังว่า จะได้ในสิ่งที่เราต้องการอย่างอ้อมๆ


แต่แทนที่จะได้ เรามักผิดหวัง มิหนำซ้ำ ยังเกิดความขัดแย้งในรูปแบบซ้ำๆ ตามบทบาทที่เราเล่น หรือที่เรียกว่า Drama Triangle นั่นเอง

(more…)
Continue Reading

Onsite Workshop : Defense Mechanism & Type Development with Wings & Arrow (Chinese New Year’s Gift)

กลไกป้องกันตนเอง (Defense Mechanism)

ซิกมันด์ ฟรอยด์ ได้อธิบายว่า คนเราทุกคนไม่อาจหลีกหนีความกังวลและความเครียดต่างๆ ที่เกิดจากกระบวนการเป็นไปทางกาย ความคับข้องใจ (Frustrations) ความขัดแย้ง (Conflict) สิ่งสะเทือนขวัญ (Treats) จึงพยายามที่จะหาวิธีผ่อนคลายจากสภาวะนี้ ด้วยการใช้ “กลไกป้องกันจิตใจ” หลากหลายรูปแบบ ซึ่งเป็นกลไกในระดับจิตใต้สำนึก เพื่อเป็นการปฏิเสธ หรือปิดบังอำพรางความเป็นจริงที่เราไม่อาจยอมรับมันได้โดยง่าย

(more…)
Continue Reading

ค้นหาตัวเองใน 4 ชั่วโมง รับปีใหม่ เพื่อเปลี่ยนแปลงตัวเองสู่ความเป็นไปได้ใหม่ๆ

สัมมนาที่ คุณไม่ควรพลาด ด้วยเหตุผลสำคัญดังนี้

เป็นคอร์สเริ่มต้น สำหรับทุกคน ที่ไม่ต้องรู้อะไรเกี่ยวกับ เอ็นเนียแกรม มาก่อนเลยใช้ เอ็นเนียแกรม (นพลักษณ์) สุดยอดความรู้ที่ทำให้เข้าใจตนเองและผู้อื่น คำตอบสุดท้ายของการค้นหาตัวเอง (Self-Discovery) และ การเข้าใจคนอื่น (Empathy)

(more…)
Continue Reading

Onsite Workshop: ExFJ CF Development @ Novotel Sukhumvit 20, 24 Dec 22

คุณยังจัดการสิ่งเหล่านี้ได้ดีแล้วหรือยัง

  • ไม่ค่อยรู้จักตัวเองมากพอ – เพราะเน้นปรับตัวให้เข้ากับคนอื่น อาจอ่านใจคนอื่นได้ด้วย แต่สิ่งนี้ ก็แลกมาด้วยการไม่ค่อยได้สนใจตัวเอง คุณจึงไม่ค่อยรู้สึกอารมณ์ความรู้สึกของตัวเอง มองไม่เห็นทิศทางชีวิตที่ควรจะไป
  • วู่วาม – มักใช้แค่ความรู้สึกและความเชื่อส่วนตัวในการตัดสินใจ ไม่ได้ใช้ข้อมูลหรือตรรกะเหตุผลที่ดี ส่งผลให้เกิดผลเสียหายตามมา
  • ต้องการคำชม หวั่นไหวต่อคำตำหนิ – จึงขาดความมั่นใจ และจุดยืนของตัวเองที่มั่นคง
  • เน้นความปรองดอง หลีกเลี่ยงความขัดแย้ง – ไม่ยอมจัดการปัญหาความขัดแย้งอย่างตรงไปตรงมา จึงอาจใช้การดื้อเงียบแทน
  • โทษตัวเองมากไป – มักโทษตัวเองเมื่อเกิดสิ่งผิดพลาดขึ้น แต่ยกเครดิตให้คนอื่นเมื่อสิ่งต่างๆ เป็นไปได้ด้วยดี
  • ฯลฯ
(more…)
Continue Reading

ESFP Cognitive Function Development by Zoom, 26 & 27 Nov, 22, Follow-up 13 Dec 22

เมื่อ ESFP ซึ่งปกติเป็นคนที่สนุกสนาน มีเรื่องตื่นเต้น น่าสนใจให้ทำมากมายทุกวัน มีความสุขกับชีวิตตรงหน้า  “Just do it” ได้ทุกสถานการณ์และทุกเรื่อง

เริ่มไม่สนุกอีกต่อไป  ความรู้สึกเคร่งเครียดเข้าแทนที่
แล้วอาการเหล่านี้ก็ตามมา

(more…)
Continue Reading