(more…)"ปัญหาทางจิตใจแทบทั้งหมดเชื่อมโยงกับ Self-Esteem ต่ำ เช่น วิตกกังวล ซึมเศร้า ผลการเรียนตกต่ำ ผลงานตกต่ำ หวาดกลัวความใกล้ชิด กลัวที่จะมีความสุขหรือประสบความสำเร็จ ติดเหล้าหรือยาเสพติด ทะเลาะเบาะแว้งกับคนรัก ลวนลามเด็ก เฉื่อยชา ชีวิตไร้จุดหมาย suicide หรือการก่ออาชญากรรม"
: The Six Pillars of Self-Esteem โดย นาธาเนียล เบรนดัล
คนเบอร์ 1 หรือผู้นิยมความสมบูรณ์ ยังมีบุคลิกที่แตกต่างกัน 3 แบบเรียกว่า Subtypes ดังนี้
(more…)เราทุกคนมีความต้องการทั้งที่เหมือนกัน และที่แตกต่างกันหลายอย่าง
ตั้งแต่เด็ก เราไม่ได้รับการส่งเสริมให้ บอกความต้องการเหล่านั้นออกมาตรงๆ
ผลก็คือ ทุกคนต้องเล่นบทบาทต่างๆ ใน Drama Triangle โดยหวังว่า จะได้ในสิ่งที่เราต้องการอย่างอ้อมๆ
แต่แทนที่จะได้ เรามักผิดหวัง มิหนำซ้ำ ยังเกิดความขัดแย้งในรูปแบบซ้ำๆ ตามบทบาทที่เราเล่น หรือที่เรียกว่า Drama Triangle นั่นเอง
กลไกป้องกันตนเอง (Defense Mechanism)
ซิกมันด์ ฟรอยด์ ได้อธิบายว่า คนเราทุกคนไม่อาจหลีกหนีความกังวลและความเครียดต่างๆ ที่เกิดจากกระบวนการเป็นไปทางกาย ความคับข้องใจ (Frustrations) ความขัดแย้ง (Conflict) สิ่งสะเทือนขวัญ (Treats) จึงพยายามที่จะหาวิธีผ่อนคลายจากสภาวะนี้ ด้วยการใช้ “กลไกป้องกันจิตใจ” หลากหลายรูปแบบ ซึ่งเป็นกลไกในระดับจิตใต้สำนึก เพื่อเป็นการปฏิเสธ หรือปิดบังอำพรางความเป็นจริงที่เราไม่อาจยอมรับมันได้โดยง่าย
(more…)สัมมนาที่ คุณไม่ควรพลาด ด้วยเหตุผลสำคัญดังนี้
เป็นคอร์สเริ่มต้น สำหรับทุกคน ที่ไม่ต้องรู้อะไรเกี่ยวกับ เอ็นเนียแกรม มาก่อนเลยใช้ เอ็นเนียแกรม (นพลักษณ์) สุดยอดความรู้ที่ทำให้เข้าใจตนเองและผู้อื่น คำตอบสุดท้ายของการค้นหาตัวเอง (Self-Discovery) และ การเข้าใจคนอื่น (Empathy)
คุณยังจัดการสิ่งเหล่านี้ได้ดีแล้วหรือยัง
- ไม่ค่อยรู้จักตัวเองมากพอ – เพราะเน้นปรับตัวให้เข้ากับคนอื่น อาจอ่านใจคนอื่นได้ด้วย แต่สิ่งนี้ ก็แลกมาด้วยการไม่ค่อยได้สนใจตัวเอง คุณจึงไม่ค่อยรู้สึกอารมณ์ความรู้สึกของตัวเอง มองไม่เห็นทิศทางชีวิตที่ควรจะไป
- วู่วาม – มักใช้แค่ความรู้สึกและความเชื่อส่วนตัวในการตัดสินใจ ไม่ได้ใช้ข้อมูลหรือตรรกะเหตุผลที่ดี ส่งผลให้เกิดผลเสียหายตามมา
- ต้องการคำชม หวั่นไหวต่อคำตำหนิ – จึงขาดความมั่นใจ และจุดยืนของตัวเองที่มั่นคง
- เน้นความปรองดอง หลีกเลี่ยงความขัดแย้ง – ไม่ยอมจัดการปัญหาความขัดแย้งอย่างตรงไปตรงมา จึงอาจใช้การดื้อเงียบแทน
- โทษตัวเองมากไป – มักโทษตัวเองเมื่อเกิดสิ่งผิดพลาดขึ้น แต่ยกเครดิตให้คนอื่นเมื่อสิ่งต่างๆ เป็นไปได้ด้วยดี
- ฯลฯ
เมื่อ ESFP ซึ่งปกติเป็นคนที่สนุกสนาน มีเรื่องตื่นเต้น น่าสนใจให้ทำมากมายทุกวัน มีความสุขกับชีวิตตรงหน้า “Just do it” ได้ทุกสถานการณ์และทุกเรื่อง
เริ่มไม่สนุกอีกต่อไป ความรู้สึกเคร่งเครียดเข้าแทนที่
แล้วอาการเหล่านี้ก็ตามมา
ESTJ มีชื่อเรียกว่าเป็น นักบริหาร (Executive)
คุณสมบัติสำคัญเกิดจากการใช้ฟังชั่นหลัก Te (Extraverted Thinking) ซึ่งเน้นการตัดสินใจ กำหนดเป้าหมาย และบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้ไปถึงเป้าหมายนั้น ในระยะเวลาที่ส้้น และมีประสิทธิภาพที่สุด
(more…)คนเรามีความแตกต่างกันโดยธรรมชาติตั้งแต่เกิด
ผลจากการไม่เข้าใจเรื่องนี้อย่างชัดเจน ทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ในชีวิตมากมายไม่น้อย เช่น
- รู้สึกแปลกแยก ไม่เหมือนคนอื่น จนอาจนึกว่าตัวเองผิดปกติ ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมามากมาย
- เปรียบเทียบตัวเอง กับคนอื่น พยายามทำตามคนอื่น โดยละเลยตัวตนแท้จริงของตัวเอง
- รู้สึกดีไม่พอ จนเสีย self-esteem รู้สึกด้อยค่า จนอาจเกลียดตัวเอง และซึมเศร้า
- ไม่ได้พัฒนาจุดแข็งที่มีในตัวตนของตัวเอง จนขาดความภาคภูมิใจในตัวเอง
- ไม่เข้าใจความแตกต่างของคน เกิดปัญหาในการสื่อสารและการอยู่ร่วมกับคนอื่น เพราะขาดความเข้าอกเข้าใจ (empathy) ต่อผู้อื่น
- ฯลฯ